วันจันทร์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2556

La conjugaison


La-conjugaison.fr va vous aider à conjuguer correctement plus de 9 000 verbes de la langue française. En plus d'un conjugueur de verbes, vous allez également y trouver un dictionnaire avec les définitions et synonymes de plus de 150 000 mots, des exercices, des traductions et les principales règles de grammaire du verbe et de la langue française. Pour accéder rapidement au verbe recherché (quel que soit son groupe, son temps, son mode), utilisez notre moteur de recherche, en tapant directement le verbe à l'infinitif ou à sa forme conjuguée.

Le verbe du jour

Le verbe : plaire
Verbe du 3ème groupe - Le verbe plaire est transitif indirect et intransitif
Le verbe plaire peut se conjuguer à la forme pronominale : se plaire
Le verbe plaire se conjugue avec l'auxiliaire avoir


Verbes les plus conjugués

prendre suivre attendre transmettre fournir dormir dire conclurechoisir perdre recevoir plaire coudre devoir vivre réussir écriremettre haïr prévoir bouillir payer valoir inscrire pouvoir aimer profitermoudre convenir envoyer établir devenir penser entendre savoir passervenir partir sentir inclure parler acquérir lire donner rappelersouhaiter aller intéresser jeter apparaître arriver croire asseoir éteindresortir permettre voir atteindre vouloir connaître boire apercevoirrendre finir plaindre remplir descendre résoudre essayer jouercomprendre manger paraître faire appeler créer rire revenircontinuer servir remettre joindre avoir travailler tenir répondresourire falloir trouver hésiter oublier courir être peindre arrêter ouvrirapprendre mourir rejoindre vendre


ตุรกีเตรียมเปิด “อุโมงค์รถไฟใต้ทะเล” เชื่อมทวีปเอเชีย-ยุโรปแห่งแรกของโลก

   เอเอฟพี – ตุรกีเตรียมเปิดเส้นทางรถไฟใต้ทะเลเชื่อมทวีปเอเชียและยุโรปสายแรกของโลกในวันพรุ่งนี้(29) ซึ่งนับว่าเป็นการสานฝันของอดีตสุลต่านออตโตมันผู้ริเริ่มแนวคิดนี้ตั้งแต่ 150 ปีก่อน แต่ขณะเดียวกันก็สร้างความไม่พอใจต่อชาวตุรกีส่วนใหญ่ที่ไม่เห็นด้วยกับการนำงบประมาณมหาศาลไปละลายในโครงการเมกะโปรเจกต์เช่นนี้
       
       นายกรัฐมนตรี ตอยยิบ เออร์โดแกน แห่งตุรกี เอ่ยถึงเส้นทางรถไฟที่ลอดผ่านช่องแคบบอสพอรัสเพื่อเชื่อมนครอิสตันบูลฝั่งยุโรปและเอเชียเข้าด้วยกันว่า “บรรพบุรุษของเราริเริ่มโครงการนี้ขึ้นมา เราซึ่งเป็นลูกหลานก็มีหน้าที่ต้องสานต่อให้สำเร็จ”
       
       สุลต่าน อับดุล เมญีด แห่งราชวงศ์ออตโตมัน ทรงคิดสร้างทางสัญจรลอดช่องแคบบอสพอรัสมาตั้งแต่ปี 1860 แต่ทรงขาดแคลนทุนทรัพย์และเทคโนโลยีขั้นสูงที่จะทำให้ฝันของพระองค์เป็นจริงได้
       
       เออร์โดแกน ซึ่งเคยเป็นนายกเทศมนตรีนครอิสตันบูลมาก่อน ได้หยิบโครงการนี้มาปัดฝุ่นใหม่เมื่อปี 2004 ตามแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานครั้งใหญ่ ซึ่งรวมไปถึงการสร้างสนามบินแห่งที่ 3 , ขุดคลองคู่ขนาน และสะพานแห่งที่ 3 ท่ามกลางเสียงตำหนิของนักวิจารณ์ที่มองว่าโครงการเหล่าใหญ่โตฟุ่มเฟือยราวกับยุคสมัย “ฟาโรห์”
       
       แนวคิดทะเยอทะยานของ เออร์โดแกน เป็นสาเหตุสำคัญที่นำมาซึ่งการประท้วงรัฐบาลครั้งใหญ่ที่แผ่ลามไปทั่วประเทศเมื่อเดือนมิถุนายน โดยชาวบ้านต่างโอดครวญว่า แผนพัฒนาเมืองของรัฐบาลทำให้ประชาชนบางส่วนถูกเวนคืนที่ดิน และยังทำลายพื้นที่สีเขียวด้วย
       
       แม้จะเปิดตัวอย่างเป็นทางการในวันพรุ่งนี้(29) ทว่าอุโมงค์รถไฟใต้ทะเลจะยังไม่เปิดให้บริการอย่างเต็มรูปแบบในทันที


นายกรัฐมนตรี ชินโซ อาเบะ แห่งญี่ปุ่น ได้รับเชิญไปร่วมพิธีเปิดอุโมงค์รถไฟใต้ทะเลที่นครอิสตันบูล เนื่องจากธนาคารกลางญี่ปุ่นเป็นสถาบันการเงินหลักที่สนับสนุนเงินกู้ให้โครงการนี้ถึง 735 ล้านยูโร ส่วนค่าใช้จ่ายตลอดโครงการอยู่ที่ราวๆ 3,000 ล้านยูโร
       
       รัฐบาลตุรกีคาดว่าโครงการอุโมงค์รถไฟความยาว 1.4 กิโลเมตรน่าจะใช้เวลาก่อสร้างไม่เกิน 4 ปี แต่แล้วโครงการก็ต้องล่าช้า เนื่องจากมีการขุดพบโบราณวัตถุรวมกว่า 40,000 ชิ้น ที่สำคัญคือซากเรือในยุคไบแซนไทน์ประมาณ 30 ลำ ซึ่งถือเป็นกองเรือยุคกลางขนาดใหญ่ที่สุดที่เคยพบมา
       
       การค้นพบที่มีมาอย่างต่อเนื่องสร้างความอึดอัดไม่น้อยต่อ เออร์โดแกน ซึ่งบ่นอุบว่าโบราณวัตถุเหล่านี้เป็นอุปสรรคต่อแผนปรับปรุงภูมิทัศน์นครอิสตันบูล
       
       “ตอนแรกพวกเขาก็พบโบราณวัตถุ ต่อมาก็พบหม้อดิน แล้วก็นี่ แล้วก็นั่น ของพวกนี้สำคัญกว่าชีวิตความเป็นอยู่ของคนหรืออย่างไร?” เขาตั้งคำถาม
       
       อุโมงค์รถไฟสายนี้อยู่ลึกลงไปใต้พื้นทะเลกว่า 50 เมตร และถูกออกแบบให้สามารถต้านทานแรงแผ่นดินไหวได้ด้วย

       
       การคมนาคมขนส่งนับเป็นปัญหาเรื้อรังสำหรับนครอิสตันบูล ซึ่งมีประชากรหนาแน่นถึง 15 ล้านคน ขณะที่สะพานข้ามช่องแคบบอสพอรัสมีอยู่เพียง 2 แห่ง และต้องรองรับคนเดินทางไม่น้อยกว่า 2 ล้านคนในแต่ละวัน
       
       กอดีร์ ทอปบาส นายกเทศมนตรีอิสตันบูล ชี้ว่า “การก่อสร้างอุโมงค์เชื่อมระหว่างฝั่งตะวันตกและตะวันออกของเมืองจะช่วยบรรเทาปัญหาจราจรได้มาก เพราะสามารถรองรับผู้โดยสารได้ถึง 150,000 คนต่อชั่
วโมง”


 ตุรกีเตรียมเปิดตัวอุโมงค์รถไฟใต้ทะเล เชื่อมยุโรป-เอเชียแห่งแรก

'อังกฤษ'เตรียมรับมือพายุที่รุนแรงที่สุดถล่ม



28 ต.ค.56 ฝนที่ตกหนักและลมแรง อันเนื่องมาจากอิทธิพลของพายุเซนต์ จู๊ด ที่มีความรุนแรงเทียบเท่าพายุเฮอร์ริเคน และเลวร้ายที่สุดในรอบ 5 ปี ทั้งยังอาจทำให้เกิดน้ำท่วมและรบกวนระบบขนส่งมวลชนทั่วอังกฤษและเวลส์ ตั้งแต่คืนวันอาทิตย์ตามเวลาท้องถิ่น
         สำนักงานอุตุนิยมวิทยาของอังกฤษ รายงานว่า บริเวณนีดเดิ้ลส์ โอลด์ แบตเตอรี่ และไอส์ออฟ ไวท์ จะเผชิญกระแสลมแรงกว่า 128 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ในช่วงไม่กี่ชั่วโมงของการเข้าสู่เช้าวันจันทร์ ซึ่งอาจสร้างความเสียหายให้กับพื้นที่ขนาดใหญ่ของสหราชอาณาจักรทำให้ต้นไม้หักโค่น สิ่งปลูกสร้างเสียหายและไฟดับ ส่วนที่พลายเมาธ์น่าจะมีลมพัดแรงประมาณ 96 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
         ทั้งนี้ เจ้าหน้าที่อยู่ระหว่างคนหาวัยรุ่นชายวัย 14 ปี ที่อาจเสียชีวิต หลังถูกคลื่นซัดหายไปในทะเลขณะเล่นเซิร์ฟท่ามกลางสภาพอากาศเลวร้าย เจ้าหน้าที่ใช้ทั้งเรือชูชีพและเฮลิคอปเตอร์ออกตามหาเขานานหลายชั่วโมง แต่สถานีโทรทัศน์ สกายนิวส์ รายงานว่า เจ้าหน้าที่ได้ยุติการค้นหาเมื่อเวลา 22.00 น. ตามเวลามาตรฐาน หรือราว 05.00 น. ตามเวลาในไทย
 
         คาดว่า พายุจะเคลื่อนเข้าสู่สหราชอาณาจักร และมุ่งหน้าไปยังทะเลเหนือในช่วงบ่ายวันนี้ ตามเวลาท้องถิ่น นายกรัฐมนตรีเดวิด คาเมรอน ได้ออกคำสั่งให้หน่วยงานรัฐบาลเตรียมแผนพร้อมรับความเป็นไปได้ ในกรณีที่ต้องมีการขนส่ง, การปิดโรงเรียน และกระแสไฟฟ้าสำรองในช่วงที่เกิดพายุ ด้านสนามบินฮีทโธรว์ ได้แจ้งเตือนนักเดินทางเรื่องเที่ยวบินอาจดีเลย์ และได้มีการยกเลิกเที่ยวบิน 8 เที่ยว ระหว่างไอร์แลนด์กับลอนดอนแล้ว เนื่องจากสภาพอากาศเลวร้าย
         เครือข่ายให้บริการระบบรถไฟ ได้ยกเลิกบริการในช่วงเช้าวันจันทร์ โดยอ้างถึงอันตรายที่ต้นไม้ หรือ วัตถุอื่น ๆ อาจร่วงใส่รถไฟ โดยเฉพาะที่เกรทเทอร์ อังเกลีย ระบุว่า จะไม่ให้บริการรถไฟก่อนเวลา 09.00 น. ของวันนี้ เพราะมีสัญญาณบ่งชี้ว่า การให้บริการจะถูกรบกวน ส่วนรถไฟสายเซาธ์เวสต์ ก็แนะนำผู้โดยสารไม่ให้เดินทางในวันจันทร์ และประกาศลดเที่ยวการให้บริการ
         สำนักงานอุตุนิยมวิทยาได้เตือนให้ประชาชนระวังฝนตกหนัก โดยระบุว่า พายุที่จะพัดเข้าภาคใต้ของอังกฤษและเวลส์ จะมีความรุนแรงไม่เหมือนทุกปีที่ผ่านมา และขอให้เตรียมพร้อมรับมือให้ดี ขณะที่บริษัทประกันภัยเตือนให้ทุกครัวเรือนปกป้องตนเองและทรัพย์สิน
         อย่างไรก็ตาม ได้มีการคาดการณ์ด้วยว่า พายุเซนต์ จู้ด จะรุนแรงเหมือนพายุที่เกิดเมื่อเดือนมีนาคม ปี 2551มกราคม 2550 และตุลาคม 2543 แต่ทางสำนักงานอุตุนิยมวิทยา ได้เตือนภัยพายุลูกนี้ในระดับสีเหลือง ที่หมายถึงให้ระมัดระวัง และเตือนประชาชนให้ติดตามรายงานการพยากรณ์อากาศ

         

  

วันพุธที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2556

สุลต่านบรูไนประกาศใช้บทลงโทษตามกฎหมายอิสลามฉบับใหม่

  

สมเด็จพระราชาธิบดีฮัจญี ฮัสซานัล โบลเกียห์แห่งบรูไน ทรงประกาศบทลงโทษตามหลักกฎหมายอิสลามที่มีความเข้มงวดมากขึ้น โดยสุลต่านฮัสซานัล โบลเกียห์ พระชนมพรรษา 67 พรรษา มีพระราชดำรัสว่า ประมวลกฎหมายอาญาตามหลังชะรีอะฮ์ฉบับใหม่ได้รับการประกาศลงในพระราชกิจจานุเบกษาแล้วในวันนี้ หลังจากใช้เวลาร่างหลายปี และจะทยอยบังคับใช้ภายเวลา 6 เดือนนับจากนี้ โดยพระองค์ทรงเรียกร้องตั้งแต่ปี 2539 ให้ใช้บทลงโทษตามกฎหมายชะรีอะฮ์

       สำนักข่าวเอเอฟพีเปิดเผยบทลงโทษบางส่วนที่ได้จากสำเนากฎหมายดังกล่าวเพื่อโจมตีความพยายามของบรูไน เช่น การลงโทษประหารชีวิตผู้คบชู้ด้วยการขว้างจนตาย การตัดมือผู้ที่ก่อเหตุลักทรัพย์ หรือการเฆี่ยนผู้ที่ดื่มสุรา
       ปัจจุบันระบบตุลาการของบรูไน ประกอบด้วย ศาลพลเรือนตามกฎหมายอังกฤษและศาลชะรีอะฮ์ที่จำกัดเฉพาะคดีส่วนบุคคลและครอบครัว เช่น ข้อพิพาทด้านการสมรส

       พลเรือนบรูไนเกือบร้อยละ 70 เป็นชาวมุสลิมเชื้อสายมาเลย์ ร้อยละ 15 เป็นคนเชื้อสายจีน ที่เหลือเป็นชนกลุ่มน้อยเชื้อสายอื่นๆ

       ทั้งนี้บรูไนเป็นชาติเล็กๆ ในอาเซียน มีอิสลามเป็นศาสนาประจำชาติ และด้วยความเคร่งครัดในศาสนาทำให้ปัญหาอาชญากรรมในบรูไนน้อยมาก ถึงขนาดที่จอดรถแล้วลืมกุญแจไว้ในรถ รถคันนั้นก็จะยังคงอยู่ที่เดิมโดยไม่มีใครมาขโมยมันไป

วันอาทิตย์ที่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2556

(Francois Marie Arouet) นักประพันธ์และนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส


ฟรานซิส มาเรีย แอเรียต

ฟรานซิส มาเรีย แอเรียต (Francois Marie Arouet) เจ้าของนามปากกา "วอลแตร์" (Voltaire) นักประพันธ์และนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส ผู้มีชื่อสียงโด่งดัง ด้วยผลงานมากมาย เกิดเมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ.2237
                    


   วอลแตร์ นักประพันธ์และนักปราชญ์ชาวฝรั่งเศส มีชื่อเต็มว่า ฟรานซิส มาเรีย แอเรียต (Francois Marie Arouet) เกิดเมื่อวันที่ 

21 พฤศจิกายน พ.ศ.2237 ณ เมืองปารีส ด้วยไหวพริบ ความรอบรู้ และสำนวนโวหาร ทำให้เขากลายเป็น นักประพันธ์และนักปราชญ์ ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของฝรั่งเศส
ฟรานซิสเข้าเรียนที่ “Louis-le-Grand ” วิทยาลัยของ นิกายโรมันแคทอริกในปารีส ซึ่งเขาพบว่า การเรียนของโรงเรียนนี้ ไร้ความหมายสำหรับเขา มีแต่ภาษาโรมันโบราณ และเรื่องน่าเบื่อ ดังนั้นเขาจึงออกจากโรงเรียนด้วยวัย 17 ปี พร้อมกับกลุ่มเพื่อน ที่เป็นชนชั้นสูงชาวคริสเตียน ด้วยบทประพันธ์ ที่เต็มไปด้วยอารมณ์ขัน ทำให้ฟรานซิส กลายเป็นที่ชื่นชอบของชนชั้นสูงได้ไม่ยาก ในปี พ.ศ.2260 ดาบสองคมจากสติปัญญาอันชาญฉลาด ทำให้เกิดปัญหาระหว่างเขา และผู้มีอำนาจ เนื่องจากงานเขียน ที่พูดเสียดสี เหน็บแนมรัฐบาลของฝรั่งเศส ทำให้ฟรานซิสถูกจำคุกที่ Bastille เป็นเวลา 11 เดือน ระหว่างที่อยู่ในฐานะนักโทษ เขาได้เขียนเรื่อง “Oedipe” ซึ่งกลายเป็นผลงานชิ้นเรก ที่ประสบความสำเร็จอย่างมาก ภายใต้นามปากกกาว่า "วอลแตร์"
  

ในปี พ.ศ.2269 วอลแตร์ มีงานเขียนประชดประชันอีกครั้ง โดยครั้งนี้คู่กรณี คือ “Chevalier De Rohan” ขุนนางหนุ่ม จึงทำให้วอลแตร์มีทางเลือกเพียง 2 อย่าง คือ รับโทษจำคุกหรือเนรเทศ วอลแตร์เลือกที่จะเนรเทศตัวเองไปที่อังกฤษ ตั้งแต่ปี พ.ศ.2269-2272 ระหว่างที่อยู่ในอังกฤษ วอลแตร์เกิดความสนใจในหลักปรัชญาของ “John Locke” รวมทั้งแง่คิด ของนักคณิตศาสตร์ และนักวิทยาศาสตร์อย่างเซอร์ ไอแซก นิวตัน (Sir Isaac Newton) ต่อมาเขาศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็น ในการปกครองในระบบซึ่งกษัตริย์ มีอำนาจสูงสุดของอังกฤษ และศาสนาของคนอังกฤษ และได้รับการยอมรับเป็นอย่างดี โดยวอลแตร์สนใจเรื่อง ปรัชญาตามหลักความเชื่อ ในเรื่องเหตุผลของเวลา และสนใจวิทยาศาสตร์ ที่เกี่ยวกับการศึกษาธรรมชาติ หลังจากที่กลับไปปารีส เขาเขียนหนังสือสรรเสริญ ประเพณีและขนบธรรมเนียมของอังกฤษ ซึ่งมีงานชิ้นนี้ถูกแปล เพื่อวิจารณ์รัฐบาลฝรั่งเศส และในปี พ.ศ.2277 วอลแตร์ก็ถูกบีบบังคับ ให้ออกไปจากปารีสอีกครั้ง
ด้วยคำเชิญชวนของ “Marquise du Chatelet” เพื่อนหญิงที่มีไหวพริบปฏิภาณสูง วอลแตร์จึงย้ายเข้าไปอยู่ใน Chateau de Cirey ใกล้กับเมือง Luneville ทางทิศตะวันออกของฝรั่งเศส พวกเขาศึกษาวิทยาศาสตร์ ทางธรรมชาติร่วมกัน เป็นเวลาหลายปี ในปี พ.ศ.2289 วอลแตร์ได้รับเลือกให้เข้าไปใน “Academie Francaise” ต่อมาในปี พ.ศ.2292 หลังจากการเสียชีวิตของ Marquise du Chatelet พร้อมกันคำเชิญของ “Frederick the Great” กษัตริย์แห่ง Prussia ให้เขาย้ายไปที่ Potsdam (ใกล้กับเมืองเบอร์ลิน ในประเทศเยอรมัน) เขาจึงย้ายไปอยู่ที่นั่น หลังจากนั้น วอลแตร์ก็ย้ายกลับไปยังฝรั่งเศสบ้านเกิดในปี พ.ศ.2296
          

ในปี พ.ศ.2302 วอแตร์ได้ซื้อที่ดินใน “Ferney” ใกล้ๆ กับพรมแดนฝรั่งเศส - สวิส เขาใช้ชีวิตอยู่ที่นี่จนกระทั่งเสียชีวิต ซึ่งหลังจากที่วอลแตร์เข้าไปอยู่ในที่แห่งนี้ไม่ช้า Ferney ก็กลายเป็นศูนย์กลาง ของปัญญาชนแห่งยุโรป วอลแตร์ทำงานอย่างต่อเนื่องตลอดหลายปี ทั้งเขียนหนังสือ บทประพันธ์ และงานเขียนอื่นๆ เขาเขียนจดหมายจำนวนหลายร้อยฉบับไปให้กับกลุ่มเพื่อน โดยเขามักจะแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล วอลแตร์มักจะวิจารณ์อย่างเปิดเผยเกี่ยวกับการ ไม่ยอมรับความคิดเห็นที่แตกต่างในเรื่องศาสนาและการลงโทษ


ด้วยวัย 83 ปี วอลแตร์ ได้รับการต้อนรับกลับเข้ามาในปารีสฐานะฮีโร่ ความตื่นเต้นของการเดินทาง ทำให้เขาเหนื่อยมากเกินไปและเสียชีวิตในปารีส และด้วยเพราะบทวิจารณ์ที่โจมตีคัมภีร์ไบเบิ้ลและโบสถ์ ซึ่งวอลแตร์เคยอ้างไว้ว่าคัมภีร์ไบเบิ้ล เป็นเรื่องที่ปั้นแต่งขึ้น และพระเยซูไม่เคยไม่อยู่จริง แต่เป็นเพียงสิ่งที่มนุษย์อุปโลก พระเจ้าขึ้นมาตามจินตนาการ ดังนั้นภายหลังจากการเสียชีวิต วอลแตร์จึงไม่ได้รับการยอมรับ ให้ฝังศพไว้ที่ใต้โบสถ์ สุดท้ายศพของเขาถูกฝังที่วัดใน Champagne ต่อมาในปี พ.ศ.2334 ศพของเขาถูกย้ายไปฝังไว้ที่ Pantheon ในปารีส


ในปี พ.ศ.2357 กลุ่มของ “ultras” (กลุ่มอนุรักษ์นิยมของศาสนาคริสต์) ได้ขโมยศพของวอลแตร์และนำไปทิ้งในกองขยะ ไม่มีผู้ที่เป็นปราชญ์ 50 ปี โลงหินขนาดใหญ่มหึมาของเขาถูกตรวจสอบ และศพก็ถูกเคลื่อนย้ายออกไปแล้ว อย่างไรก็ตาม หัวใจของเขาถูกผ่าออก โดยนำไปไว้ที่ Bibliotheque Nationale ในปารีส สมองของเขาก็ถูกผ่าออกด้วย แต่หลังจากเวลาผ่านไปกว่า 100 ปี ก็หายไป ภายหลังจากการขายด้วยการประมูล


ผลงานของวอลแตร์มีจำนวนมากถึง 40 - 60 เรื่อง ตัวอย่างเช่นนวนิยายเรื่อง “บุรุษหน้ากากเหล็ก” (The man in the iron mask) ซึ่งเป็นเรื่องราวของบุรุษนักโทษลึกลับใต้หน้ากากเหล็ก ที่เชื่อมโยงกับเรื่องราวในราชวงศ์สมัยพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 ด้วยความสงสัยว่าบุรุษผู้นั้นคือใคร และเป็นเรื่องจริงหรือไม่ จนกลายเป็นที่โจษจัน ทำให้นวนิยายเรื่องนี้โด่งดังไปทั่วฝรั่งเศส นอกจากนี้ยังมีผลงานหนังสือและบทกวี ที่มีชื่อเสียงอย่าง “Candide”, “Letters on the English”, “Zaire”, “Zadig” และ “Dictionnaire philosophique” เป็นต้น
                









Le Fantôme de l'Opéra

ปีศาจแห่งโรงอุปรากร


เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า (อังกฤษ: The Phantom of the Opera; ฝรั่งเศส: Le Fantôme de l'Opéra) เป็นวรรณกรรมฝรั่งเศสที่มีชื่อเสียงระดับโลก ซึ่งประพันธ์โดยนักเขียนชาวฝรั่งเศสนามว่า กาสตง เลอรูซ์ เป็นนวนิยายแนวโกธิกแบบลึกลับสยองขวัญซึ่งอิงจากเรื่องที่เกิดขึ้นจริงในโรงอุปรากรการ์นิเย่ของฝรั่งเศส และมีเนื้อหาที่กล่าวถึงความรักสามเส้าระหว่างชายอัปลักษณ์ชื่ออีริค (แฟนธ่อม) คริสติน ดาเอ้ ผู้เป็นนักร้องอุปรากรสาวซึ่งเป็นลูกศิษย์ของเขา และราอูล ซึ่งเรื่องนี้จบลงด้วยโศกนาฏกรรมที่เศร้าสลด
จากเนื้อหาที่คลาสสิกของ เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า นี้เอง ที่ทำให้มีการนำมาดัดแปลงเป็นภาพยนตร์, ละครเวที และละครเพลงอยู่บ่อยครั้งตลอดช่วงระยะเวลาที่ผ่านมา และยังมีบทประพันธ์ลูกอีกหลายเรื่อง อาทีเช่น The Phantom (โดย Susan Kay), แฟนธ่อม ออฟ เดอะ แมนฮัตตัน เป็นต้น
นิยายเรื่อง เดอะแฟนท่อมออฟดิโอเปร่า นับเป็นนิยายอิงประวัติศาสตร์ด้วย เนื่องจาก กาสตง เลอลูซ์ได้เขียนขึ้นโดยได้แรงบันดาลใจจากเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริงโดยนับจากช่วงเวลาที่เขาเขียนนิยายย้อนกลับไปประมาณสามสิบปี ซึ่งเหตุการณ์ที่สร้างความสนใจแก่เลอลูซ์ คือ "การตกลงมาอย่างไม่ทราบสาเหตุของโคมระย้า" ระหว่างอุปรากรเรื่อง "เฟาสต์" ซึ่งทำให้มีผู้บาดเจ็บหลายคนและเสียชีวิตหนึ่งคน, การจมน้ำเสียชีวิตของคนกลุ่มเล็กๆ ในคลองใต้โรงละครอย่างลึกลับ, การเสียชีวิตอย่างเป็นปริศนาของเคาต์ฟิลลิปป์ซึ่งเป็นผู้อุปถัมภ์โรงละคร และมีการพบศพของเขาที่ปากท่อระบายน้ำ, เรื่องเล่าเกี่ยวกับ "ผี" ในโรงละคร และการที่โรงละครจะต้องสูญเงินอย่างเป็นปริศนามากถึง 20,000 ฟรังส์ต่อเดือนในช่วงนั้น
แม้ในนิยาย "ผีแห่งโรงละคร" จะเป็นเรื่องที่พูดกันมากในช่วงเวลานั้นจริงๆ แต่แท้จริงแล้ว เรื่องของผีไม่ใช่เรื่องแพร่หลาย หากเป็นเรื่องที่รู้กันลับๆ เฉพาะในหมู่คนที่ทำงานในโรงอุปรากรเท่านั้น หรืออีกนัยหนึ่งคือ เรื่องของผีตนนี้โด่งดังขึ้นจากนวนิยายของเลอรูซ์นั้นเอง
กาสตง เลอรูซ์ได้แสดงออกอย่างชัดเจนว่าเขาเชื่อเรื่องที่เขาเขียน และยังอ้างว่าระหว่างการซ่อมแซมโรงอุปรากรการ์นิเย่ เขาได้พบศพของมนุษย์ ซึ่งเขาแน่ใจว่านั่นคือ อีริค-ผีแห่งโรงละคร โดยอ้างว่าโครงกระดูกนั่นมี "แหวนทองคำเกลี้ยง" สวมที่นิ้ว ซึ่งตรงกับคำบอกเล่าของคนเปอร์เซียที่ว่า "เขาได้รับแหวนทองคำจากคริสติน ดาเอ้ในวันที่เธอทิ้งเขาไป" แต่เลอรูซ์ ไม่ได้บอกว่าร่างที่เชื่อว่าเป็นอีริคนั้นถูกย้ายไปไว้ที่ไหน

   
เดอะแฟนธ่อมออฟดิโอเปร่า  
Gaston Leroux - Le Fantôme de l'Opéra.jpg
ภาพปกฉบับจัดพิมพ์ ค.ศ. 1921
ผู้ประพันธ์กาสตง เลอรูซ์
ชื่อต้นฉบับLe Fantôme de l'Opéra
ประเทศฝรั่งเศส
ภาษาภาษาฝรั่งเศส
ประเภทGothic novel
ผู้เผยแพร่Pierre Lafitte and Cie.
วันเผยแพร่September 23, 1909 to January 8, 1910
ชนิดสื่อPrint (Serial)
หมายเลข OCLC15698188

ตัวละครสำคัญ


  • อีริค (Erik-ไม่ปรากฏว่ามีนามสกุล) - บุรุษที่มีน้ำเสียงไพเราะราวกับเทพจากสวรรค์ซึ่งสวนทางกับใบหน้าที่เสียโฉมอย่างรุนแรงจนถึงขั้นอัปลักษณ์ แฝงตัวเองใว้ภายใต้ชื่อ "ปีศาจแห่งโรงอุปรากร (The Phantom of the Opera)" เนื่องจากต้องการหลบหนีความโหดร้ายของสังคมมนุษย์ ซึ่งความโหดร้ายของสังคมมนุษย์นี่เองที่ทำให้เขากลายเป็นคนเสียสติและถูกคนในโรงละครเข้าใจผิดว่าเป็นผี เขาเป็นอัจฉริยะทางดนตรีที่อยู่เบื้องหลังความสำเร็จของโรงละคร เขาเป็นผู้ปลุกปั้นคริสตินให้เป็นเพชรเม็ดงามของโรงละครและรักเธอในที่สุด ในนวนิยายบรรยายถึงเขาว่ามีดวงตาสีทอง มีรูปลักษณ์ที่ผอมและบอบบางอย่างมากจนราวกับโครงกระดูกที่มีชีวิตซึ่งลักษณะอันนี้ทำให้เขาเคยถูกจับโชว์ในชื่อ "ซากมีชีวิต" และถูกปฏิบัติราวกับไม่ใช่มนุษย์ ในหนังสือนอกจากเขาจะมีความเป็นอัจฉริยะหลายด้านแล้ว เขายังใช้ภาษาพูดที่มีลักษณะเหมือนตนเองเป็นบุคคลที่สาม คล้ายภาษาพูดของด๊อบบี้ในแฮร์รี่ พอตเตอร์
  • คริสติน ดาเอ้ (Christine Daaé) - หญิงสาวนักร้องอุปรากรชาวสวีเดน ลูกศิษย์ของอีริค มีดวงตาสีฟ้าและผมสั้นสีบรอนซ์ เธอเชื่อว่าเขาเป็นทูตสวรรค์เพราะน้ำเสียงอันไพเราะผิดมนุษย์กับความลึกลับของเขา และความหลงใหลในน้ำเสียงอันไพเราะของเขาและความอยากรู้อยากเห็นก็ทำให้เธอกระชากหน้ากากของเขา ซึ่งเหตุการณ์ครั้งนั้นนับเป็นจุดเริ่ม
  • ต้นสำคัญของโศกนาฏกรรมก็ว่าได้
  • ราอูล (Raoul, Viscount de Chagny) - บุรุษรูปงามผู้เป็นเพื่อนรักกับคริสตินมาตั้งแต่เด็ก เป็นชายหนุ่มที่ทรงเสน่ห์ และหยิ่งยโสในความงามของตน เขาเป็นน้องชายของเคาต์ฟิลลิปป์ เดอ ชานี ผู้อุปถัมภ์โรงละคร
  • คนเปอร์เซีย ตัวละครสำคัญของเรื่อง เป็นผู้ที่เปิดเผยเรื่องราวของอีริค และอาจจะเรียกได้ว่าเป็นคนเดียวที่อีริคสามารถเรียกได้เต็มปากเต็มคำว่าเป็นเพื่อน เขาเป็นเจ้าของวลีที่ว่า "ยกมือขึ้นระดับสายตา" เพราะหากยกมือขึ้นระดับสายตา ห่วงปันจาบจะลงมาคล้องคอไม่ได้ กาสตรง เลอรูซ์ บรรยายถึงเขาว่า "มีผิวสีน้ำตาลเข้มและดวงตาสีเขียวเหมือนหยก" ไม่ปรากฏชื่อในเรื่อง แต่อีริคเรียกเขาว่า "ดาโรก้า" ซึ่งเป็นตำแหน่งหัวหน้าตำรวจของอิหร่าน ทำให้สามารถคาดเดาได้ว่าเขาเป็นข้าราชการ เขาเป็นผู้ที่ช่วยอีริคจากความโหดร้าย
  • มาดามจีรี เป็นคนเดินสารระหว่างอีริคกับโรงอุปรากร เพราะเธอเคยได้รับความช่วยเหลือจากเขามาก่อน และเป็นหนึ่งในบุคคลไม่กี่คนที่นอกจากจะไม่กลัวเขาแล้วยังรู้สึกสงสารเขา เธอเป็นผู้เก็บรักษากล่องดนตรีของอีริคหลังความตายของเขา
  • เม็ก จีรี ลูกสาวของมาดามจีรี เป็นดาวนักบัลเลต์อันดับหนึ่ง เธอมีผมสีดำ ผิวคล้ำ และตาสีดำ เหมือนชาวชวา หรือ ศรีลังกา ซึ่งแตกต่างจากคนฝรั่งเศสทั่วไป(คาดว่าเธอจะเหมือนพ่อ) ซึ่งเป็นปมด้อยที่ทำให้เธอมักพูดถึงตัวเองว่า "ผู้หญิงชั้นต่ำ น่าสมเพช" อีริคเคยทำนายไว้ด้วยไพ่ทาโรต์ว่า "เธอจะได้เป็นจักรพรรดินีของแม่" และภายหลังเธอได้กลายเป็นภรรยาขุนนาง ตามที่อีริคเคยทำนาย
  • เคาต์ฟิลลิปป์ (Count Philippe de Chagny) พี่ชายของราอูล มีอายุมากกว่าราอูลถึง 20 ปี และเป็นคนที่ผู้ประพันธ์นิยายอ้างว่าความตายของเขาเป็นเหตุให้ผู้ประพันธ์ค้นหาความจริง และได้พบกับคนเปอร์เซียและมาดามจีรี ซึ่งทั้งคู่ได้เปิดเผยเรื่องราวของอีริค
  • เรื่องย่อ


    คริสตินได้สูญเสียพ่อและแม่จนต้องมาอยู่ที่โรงอุปรากรการ์นิเย่ มีโอกาสได้รับการสอนร้องเพลงจากครูที่ลึกลับที่เห็นพรสวรรค์ของเธอ ซึ่งเธอเรียกเขาว่า "เทวดาแห่งบทเพลง" เพราะความลึกลับและน้ำเสียงที่ไพเราะยิ่งกว่าเสียงของมนุษย์คนใดในโลกที่เธอเคยได้ยินได้ฟัง จากการเคี่ยวเข็ญอย่างจริงจัง ในที่สุดเธอก็เก่งพอที่จะขึ้นร้องเพลงแทนคาลอตต้าที่ป่วยได้ ซึ่งเหตุการณ์นั้นประจวบกันที่เคาต์ฟิลลิปป์ได้เข้ามาเป็นผู้อุปถัมป์โรงละคร ทำให้ราอูลซึ่งเป็นน้องชายของท่านเคาต์ และเป็นเพื่อนวัยเด็กของเธอเกิดจำเธอได้และเข้ามาเชื่อมความสัมพันธ์กับเธอ เหตุการณ์นี้ทำให้อีริคอิจฉาและกลัวว่าจะถูกทิ้งจึงมาแนะนำตัวกับเธอในคืนๆ หนึ่ง และพาเธอไปยังถ้ำใต้ดินของโรงอุปรากรซึ่งเขาใช้เป็นที่ซ่อนตัว คืนนั้นอีริคได้สารภาพรักกับคริสติน ระหว่างที่ร้องเพลงประสานเสียงกันนั้นเอง คริสตินอดทนต่อความอยากรู้อยากเห็นไม่ได้และถอดหน้ากากเขาออก ทำให้เธอได้รู้ว่าแท้จริงแล้วเทวดาของเธอไม่ใช่เทพจากสวรรค์อย่างที่วาดฝันไว้ แต่เป็นชายอัปลักษณ์ที่น่าสังเวชซึ่งถูกสังคมทารุณจนกลายเป็นคนเสียสติ คริสตินหวาดกลัวและขอร้องให้เขาปล่อยเธอไป ซึ่งเขาก็ยอมตาม โดยมีข้อแม้ว่าเธอต้องไม่แพร่งพรายเรื่องของเขา และติดต่อกับเขาตามปกติ
    ราอูลแอบได้ยินคริสตินกับอีริคคุยกันในห้องแต่งตัว ด้วยความหึงหวงเนื่องจากเสียงของอีริคไพเราะอ่อนหวานมาก ราอูลพยายามสืบหาว่าคริสตินแอบพบกับใครเป็นการลับๆ กันแน่ จนกระทั่งในงานราตรีหน้ากาก เมื่อคริสตินพาราอูลออกจากงานเลี้ยงเพราะอีริคได้ปรากฏตัวในคราบ "มัจจุราชแดง" (the red Death) เขาจึงคาดคั้นเอากับเธอ และรู้ความจริงว่าภายใต้ชุดมัจจุราชแดงนั้นคือคนบ้า-อัปลักษณ์ (ไม่ใช่หนุ่มน้อยรูปงามอย่างที่กลัว) ที่มีความเป็นอัจฉริยะในตัว ทำให้เขาสบายใจและบอกเธอว่าจะปกป้องเธอ ทำให้ทั้งคู่ตัดสินใจจะรักกัน และทำให้อีริคที่แอบฟังอยู่เสียใจมาก การพยายามค้นหาความจริงทำให้ราอูลได้รู้เรื่องราวของอิริคจากชายลึกลับชาวเปอร์เซีย ส่วนอีริคนั้น เมื่อทนต่อความเสียใจและอุปสรรคที่บีบเข้ามาทุกทางไม่ได้ อีริคก็ลักพาคริสตินไปขังไว้ที่ถ้ำใต้ดินของโรงอุปรากรและขอร้องไปจนถึงบังคับให้เธอเลือกเขา เหตุการณ์ครั้งนั้นทำให้มีคนตายจากการกระทำของอีริคมากมาย รวมทั้งเคาต์ฟิลลิปป์ ทำให้ราอูลตัดสินใจตามหาเขาเพื่อช่วยคริสตินและล้างแค้น
    อีริคได้ไปพบชายชาวเปอร์เซียที่บ้าน และบอกเล่าเรื่องราวที่เกิดขึ้น ทำให้ชายชาวเปอร์เซียเข้าใจในความรักที่อีริคมีต่อคริสติน ในการพบกันครั้งสุดท้ายคริสตินได้ยอมเสียสละเพื่อช่วยชีวิตราอูล โดยก้มลงจูบอีริคอย่างไม่รังเกียจ ทำให้อีริคที่พิการทั้งร่างกายและจิตใจได้รับความสุขอย่างแท้จริงเป็นครั้งแรกในชีวิต อีริคตัดสินใจปลดปล่อยคริสติน และราอูลเป็นอิสระ จากนั้นก็ล้มป่วยด้วยความตรอมใจ และเสียชีวิตอย่างโดดเดี่ยวในอีก 3 สัปดาห์ถัดมา





    The Phantom of the Opera

    he Phantom of the Opera (French: Le Fantôme de l'Opéra) is a novel by French writer Gaston Leroux. It was first published as a serialisation in Le Gaulois from September 23, 1909 to January 8, 1910. Initially, the story sold very poorly upon publication in book form and was even out of print several times during the twentieth century;[1] it is overshadowed by the success of its various film and stage adaptations. The most notable of these were the 1925 film depiction, and Andrew Lloyd Webber's 1986 musical.

    Plot

    Christine Daaé travels with her father, a famous fiddler, throughout Europe and plays folk and religious music. When Christine was six years old, her mother died and her father was taken to rural France by a patron, Professor Valerius.
    While Christine was a child her father told her many stories about the "Angel of Music," who is the personification of musical inspiration. Christine meets and befriends the young Raoul, Viscount of Chagny. One of Christine and Raoul's favourite stories is one of Little Lotte, a girl who is visited by the Angel of Music and possesses a heavenly voice.
    Christine now lives with 'Mamma' Valerius, the elderly widow of her father's benefactor. She eventually is given a position in the chorus at the Paris Opera House (Palais Garnier). She begins hearing a beautiful, unearthly voice which sings to her and speaks to her. She believes this must be the Angel of Music and asks him if he is. The Voice agrees and offers to teach her "a little bit of heaven's music." The Voice, however, belongs to Erik, a physically deformed and mentally disturbed musical genius who was one of the architects who took part in the construction of the opera house. He is in love with Christine. He has also been extorting money from the Opera's management for many years, and he is also called the "Opera Ghost" by the denizens of the Opera.
    Christine triumphs at the gala on the night of the old managers' retirement. Her old childhood friend, Raoul, hears her sing and recalls his love for her. He then hears the "Angel of Music" speaking to Christine. A time after the gala, the Paris Opera performs Faust, with the prima donna Carlotta playing the lead, against Erik's wishes. In response to a refused surrender of Box Five to the Opera Ghost, Carlotta loses her voice and the grand chandelier plummets into the audience.
    After the accident, Erik kidnaps Christine, takes her to his home (the cellars) and reveals his true identity. He plans to keep her there for a few days, hoping she will come to love him. Christine begins to find herself attracted to her abductor. But she causes Erik to change his plans when she unmasks him and, to the horror of both, beholds his face, which according to the book, resembles the face of a rotting corpse. Erik goes into a frenzy, stating she probably thinks his face is another mask, and whilst digging her fingers in to show it was really his face he shouts, "I am Don Juan Triumphant!" before crawling away, crying. Fearing that she will leave him, he decides to keep her with him forever, but when Christine requests release after two weeks, he agrees on condition that she wear his ring and be faithful to him.
    On the roof of the opera house, Christine tells Raoul that Erik abducted her. Raoul promises to take Christine away to a place where Erik can never find her. Raoul tells Christine he shall act on his promise the next day, to which Christine agrees. She, however, has pity for Erik and will not go until she has sung a song for him one last time. Christine then realises the ring has slipped off her finger and has fallen into the street somewhere. She begins to panic. The two leave, but neither is aware that Erik has been listening to their conversation and that he has become extremely jealous. In the weeks which have gone by, Erik has terrorised anyone who has stood in his way or in the way of Christine's career, including the managers.
    The following night, Erik kidnaps Christine during a production of Faust (he drugs the gas-man with a narcotic, switches the lights off and spirits Christine off the stage.) Erik tries to force Christine to marry him. He states that if she refuses, he will use explosives (which he has planted in the cellars) to destroy the entire opera house. Christine refuses, until she realises that Erik learned of Raoul's attempt to rescue her and has trapped Raoul in a hot torture chamber (along with The Persian, an old acquaintance of Erik who was going to help Raoul.) To save them and the people above, Christine agrees to marry Erik. Erik initially tries to drown Raoul and The Persian, using the water which would have been used to douse the explosives. But Christine begs and offers to be his "living bride," promising him not to kill herself after becoming his bride, as she had both contemplated and attempted earlier in the novel. Erik eventually rescues The Persian and Raoul from his torture chamber. When Erik is alone with Christine, he lifts his mask to kiss her on her forehead, and is given a kiss back. Erik reveals that he has never received a kiss (not even from his own mother) or has been allowed to give one and is overcome with emotion. He lets Christine go and tells her, "Go and marry the boy whenever you wish," explaining, "I know you love him." She leaves on the condition that when he dies she will come back and bury him.
    Being an old acquaintance, The Persian is told these secrets by Erik, and upon his express request, The Persian advertises Erik's death in a newspaper about three weeks later. The cause of the death is revealed to be a broken heart, and as promised, Christine returns to bury Erik and gives him back the ring.

    Characters

      Phantom of the Opera Cover.jpg
    • Erik: The "Phantom", "Angel of Music" and "Opera-Ghost."
    • Christine Daaé: A young Swedish soprano.
    • Raoul, Vicomte de Chagny: Christine's childhood friend and love interest.
    • The Persian: A mysterious man from Erik's past.
    • Comte Philippe de Chagny: Raoul's elder brother.
    • Armand Moncharmin and Firmin Richard: The managers of the opera house.
    • Madame Giry: The suspicious caretaker for Box Five.
    • Meg GiryMadame Giry's only daughter, Christine Daaé's best friend, a ballet girl. Later becomes Mme. la Baronne de Castelot-Barbezac.
    • Debienne and Poligny: The previous managers of the opera house.
    • Joseph Buquet: The chief scene-shifter.
    • La Carlotta: A spoiled prima donna; the lead soprano of the Paris opera house.
    • Mercier: The acting-manager.
    • Gabriel: The superstitious chorus-master.
    • Mifroid: The commissary of police called in for Christine's disappearance.
    • Remy: The manager's secretary.
    • The inspector: An inspector hired to investigate the strange affairs in Box Five.
    • Shah and the sultan: The two kings that tried to kill Erik after he made them a palace.
    • La Sorelli: the lead ballerina and woman with whom Comte de Chagny spent time. Also labelled Annie Sorelli, though this is questionable
    • Little Jammes: A mentioned Ballerina at the Opera House.
    •   
      The Phantom of the Opera

      1920 edition [France]
      AuthorGaston Leroux
      Original titleLe Fantôme de l'Opéra
      CountryFrance
      LanguageOriginally French, translated into English
      Subjectromance, mystery
      GenreGothic novel
      PublisherPierre Lafitte and Cie.
      Publication dateSeptember 23, 1909 to January 8, 1910
      Published in English1911
      Media typePrint (Serial)
      Pages~190
      OCLC Number15698188