นายกรัฐมนตรีไทย (พ.ศ. 2475 - ปัจจุบัน) |
ลำดับ
(สมัย) | รูป | รายนาม | ครม.
คณะที่ | เริ่มวาระ
(เริ่มต้นโดย) | สิ้นสุดวาระ
(สิ้นสุดโดย) | ที่มา |
1
(1-3) | | ประธานคณะกรรมการราษฎร
พระยามโนปกรณ์นิติธาดา (ก้อน หุตะสิงห์) | 1 | 28 มิถุนายน พ.ศ. 2475
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 : เลือกตั้งทั่วไป) | (อดีตกรรมการองคมนตรีในรัชกาลที่ 7) |
2 | 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 1 เมษายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหารโดยพระราชกฤษฎีกา) |
3 | 1 เมษายน พ.ศ. 2476
(พระราชกฤษฎีกา) | 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(รัฐประหาร) |
2
(1-5) | | พลเอก พระยาพหลพลพยุหเสนา (พจน์ พหลโยธิน) | 4 | 21 มิถุนายน พ.ศ. 2476
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(ลาออก) | คณะราษฎร
(ผู้บัญชาการทหารบก) |
5 | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2476
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 22 กันยายน พ.ศ. 2477
(ลาออก เนื่องจากสภาไม่อนุมัติสนธิสัญญาจำกัดยางของรัฐบาล) |
6 | 22 กันยายน พ.ศ. 2477
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(ลาออก เนื่องจากกรณีกระทู้เรื่องขายที่ดินพระคลังข้างที่) |
7 | 9 สิงหาคม พ.ศ. 2480
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(สภาครบวาระ) |
8 | 21 ธันวาคม พ.ศ. 2480
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(ยุบสภา) [1] |
3
(1,2) | | จอมพล ป. พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม) | 9 | 16 ธันวาคม พ.ศ. 2481
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(ลาออก เนื่องจากต้องเปลี่ยนแปลงคณะรัฐมนตรีให้เหมาะสม) | คณะราษฎร
(ผู้บัญชาการทหารบก) |
10 | 7 มีนาคม พ.ศ. 2485
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(ลาออก เนื่องจากส.ส.ไม่อนุมัติร่างพ.ร.บ.และพ.ร.ก.) |
4
(1) | | พันตรี ควง อภัยวงศ์ (หลวงโกวิทอภัยวงศ์) | 11 | 1 สิงหาคม พ.ศ. 2487
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(ลาออก เนื่องจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง) | คณะราษฎร |
5 | | ทวี บุณยเกตุ | 12 | 31 สิงหาคม พ.ศ. 2488
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 17 กันยายน พ.ศ. 2488
(ลาออก เนื่องจากจะเปิดโอกาสให้ผู้ที่เหมาะสมเข้ามาแทน) | - |
6
(1) | | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 13 | 17 กันยายน พ.ศ. 2488
(เสนอชื่อโดยผู้สำเร็จราชการแผ่นดิน) | 31 มกราคม พ.ศ. 2489
(ยุบสภา) |
ขบวนการเสรีไทย |
4
(2) | | พันตรี ควง อภัยวงศ์ (หลวงโกวิทอภัยวงศ์) | 14 | 31 มกราคม พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(ลาออก เนื่องจากแพ้มติสภาที่เสนอพ.ร.บ.ที่รัฐบาลรับไม่ได้) | - |
7
(1-3) | | ปรีดี พนมยงค์ (หลวงประดิษฐ์มนูธรรม) | 15 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2489
(ลาออกเพราะประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2489และให้เลือกตั้งทั่วไป) |
ขบวนการเสรีไทย |
- | 7 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(ลาออก เนื่องจากการสวรรคตของรัชกาลที่ 8) |
16 | 11 มิถุนายน พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(ลาออก เนื่องจากถูกใส่ร้ายป้ายสีกรณีสรรณคตของรัชกาลที่ 8) |
8
(1,2) | | พลเรือตรีถวัลย์ ธำรงนาวาสวัสดิ์ (หลวงธำรงนาวาสวัสดิ์) | 17 | 23 สิงหาคม พ.ศ. 2489
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(ลาออก เนื่องจากมีกระแสกดดันที่รุนแรง) | พรรคแนวรัฐธรรมนูญ |
18 | 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2490
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(รัฐประหาร) |
คณะทหารแห่งชาติ | 8 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490 | |
4
(3,4) | | พันตรี ควง อภัยวงศ์ (หลวงโกวิทอภัยวงศ์) | 19 | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2490
(มติคณะทหารแห่งชาติ) | 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(ลาออก เนื่องจากเป็นรัฐบาลรักษาการเพื่อจัดเลือกตั้งทั่วไป) |
พรรคประชาธิปัตย์ |
20 | 21 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2491
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 8 เมษายน พ.ศ. 2491
(ลาออก เนื่องจากคณะรัฐประหารบังคับให้ลาออกภายใน 24 ชั่วโมง) |
3
(3-8) | | จอมพล ป. พิบูลสงคราม (แปลก พิบูลสงคราม) | 21 | 8 เมษายน พ.ศ. 2491
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2492 : เลือกตั้งทั่วไป) | - |
22 | 25 มิถุนายน พ.ศ. 2492
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(นำรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2475 กลับมาใช้อีกครั้งหนึ่ง) |
23 | 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2494
(มติคณะรัฐประหาร) | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มีการแต่งตั้งสมาชิกประเภทที่ 2 ขึ้นใหม่) |
24 | 6 ธันวาคม พ.ศ. 2494
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 23 มีนาคม พ.ศ. 2495
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2495 : เลือกตั้งทั่วไป) |
25 | 24 มีนาคม พ.ศ. 2495
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(สภาครบวาระ) |
26 | 21 มีนาคม พ.ศ. 2500
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 16 กันยายน พ.ศ. 2500
(รัฐประหาร) | พรรคเสรีมนังคศิลา |
คณะปฏิวัติ | 16 กันยายน พ.ศ. 2500 | 21 กันยายน พ.ศ. 2500 | |
9 | | พจน์ สารสิน | 27 | 21 กันยายน พ.ศ. 2500
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 25 ธันวาคม พ.ศ. 2500
(ลาออก) | - |
10
(1) | | จอมพล ถนอม กิตติขจร | 28 | 1 มกราคม พ.ศ. 2501
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501
(ลาออกและรัฐประหาร) | - |
คณะปฏิวัติ | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502 | |
11 | | จอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ | 29 | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2502
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 8 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(ถึงแก่อสัญกรรม) | (ผู้บัญชาการทหารบก) |
10
(2-4) | | จอมพล ถนอม กิตติขจร | 30 | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2506
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2511 : เลือกตั้งทั่วไป) | (ผู้บัญชาการทหารบกพ.ศ. 2506-พ.ศ. 2507) |
31 | 7 มีนาคม พ.ศ. 2512
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514
(รัฐประหาร) | - |
สภาบริหารแห่งชาติ | 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514 | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2515 | |
จอมพล ถนอม กิตติขจร | 32 | 18 ธันวาคม พ.ศ. 2515
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(ลาออก เนื่องจากเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา) | - |
12 | | สัญญา ธรรมศักดิ์ | 33 | 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516
(แต่งตั้งโดยพระมหากษัตริย์) | 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(ลาออก โดยอ้างเหตุร่างรัฐธรรมนูญไม่เสร็จ) | - |
34 | 27 พฤษภาคม พ.ศ. 2517
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2517 : เลือกตั้งทั่วไป) |
6
(2) | | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 35 | 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2518
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(ไม่ได้รับความไว้วางใจจาก ส.ส.ในการแถลงนโยบาย) |
พรรคประชาธิปัตย์ |
13 | | หม่อมราชวงศ์คึกฤทธิ์ ปราโมช | 36 | 14 มีนาคม พ.ศ. 2518
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 20 เมษายน พ.ศ. 2519
(ยุบสภา) [2] |
พรรคกิจสังคม |
6
(3) | | หม่อมราชวงศ์เสนีย์ ปราโมช | 37 | 20 เมษายน พ.ศ. 2519
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 25 กันยายน พ.ศ. 2519
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์จอมพล ถนอมกลับมาอุปสมบท) |
พรรคประชาธิปัตย์ |
38 | 25 กันยายน พ.ศ. 2519
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(รัฐประหาร) |
คณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน | 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519 | |
14 | | ธานินทร์ กรัยวิเชียร | 39 | 8 ตุลาคม พ.ศ. 2519
(มติคณะปฏิรูปการปกครองแผ่นดิน) | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520
(รัฐประหาร) | - |
คณะปฏิวัติ | 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 | 10 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520 | |
15
(1,2) | | พลเอก เกรียงศักดิ์ ชมะนันทน์ | 40 | 11 พฤศจิกายน พ.ศ. 2520
(มติคณะปฏิวัติ) | 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2521 : เลือกตั้งทั่วไป) | - |
41 | 12 พฤษภาคม พ.ศ. 2522
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์น้ำมันและผู้ลี้ภัย) | - |
16
(1-3) | | พลเอก เปรม ติณสูลานนท์ | 42 | 3 มีนาคม พ.ศ. 2523
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 30 เมษายน พ.ศ. 2526
(ยุบสภา) [3] | (ผู้บัญชาการทหารบกพ.ศ. 2523-พ.ศ. 2524) |
43 | 30 เมษายน พ.ศ. 2526
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(ยุบสภา) [4] | - |
44 | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2529
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(ยุบสภา) [5] |
17
(1,2) | | พลเอก ชาติชาย ชุณหะวัณ | 45 | 4 สิงหาคม พ.ศ. 2531
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(ลาออก) |
พรรคชาติไทย |
46 | 9 ธันวาคม พ.ศ. 2533
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534
(รัฐประหาร) |
คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) | 24 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 | 1 มีนาคม พ.ศ. 2534 | |
18
(1) | | อานันท์ ปันยารชุน | 47 | 2 มีนาคม พ.ศ. 2534
(มติคณะ รสช.) | 7 เมษายน พ.ศ. 2535
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2534 : เลือกตั้งทั่วไป) | - |
19 | | พลเอก สุจินดา คราประยูร | 48 | 7 เมษายน พ.ศ. 2535
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(ลาออก เนื่องจากเกิดเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ) | |
- | | มีชัย ฤชุพันธุ์ | 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2535
(นายกรัฐมนตรีลาออกจากตำแหน่ง) | 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) | (รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน) |
18
(2) | | อานันท์ ปันยารชุน | 49 | 10 มิถุนายน พ.ศ. 2535
(ได้รับการเสนอชื่อขึ้นทูลเกล้าฯ โดยอาทิตย์ อุไรรัตน์ ประธานสภาผู้แทนราษฎร) | 23 กันยายน พ.ศ. 2535
(ยุบสภา) [6] | - |
20
(1) | | ชวน หลีกภัย | 50 | 23 กันยายน พ.ศ. 2535
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(ยุบสภา) [7] |
พรรคประชาธิปัตย์ |
21 | | บรรหาร ศิลปอาชา | 51 | 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(ยุบสภา) [8] |
พรรคชาติไทย |
22 | | พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ | 52 | 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2539
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(ลาออก เนื่องจากเกิดวิกฤตการณ์เศรษฐกิจ) |
พรรคความหวังใหม่ |
20
(2) | | ชวน หลีกภัย | 53 | 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2540
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(ยุบสภา) [9] |
พรรคประชาธิปัตย์ |
23
(1,2) | | พันตำรวจโท ทักษิณ ชินวัตร | 54 | 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2544
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(สภาครบวาระ) |
พรรคไทยรักไทย |
55 | 11 มีนาคม พ.ศ. 2548
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 19 กันยายน พ.ศ. 2549
(รัฐประหาร) [10] |
คณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยฯ (คปค.) | 19 กันยายน พ.ศ. 2549 | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549 | |
24 | | พลเอก สุรยุทธ์ จุลานนท์ | 56 | 1 ตุลาคม พ.ศ. 2549
(มติคณะมนตรีความมั่นคงแห่งชาติ) | 29 มกราคม พ.ศ. 2551
(ประกาศใช้รัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 : เลือกตั้งทั่วไป) | - |
25 | | สมัคร สุนทรเวช | 57 | 29 มกราคม พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 9 กันยายน พ.ศ. 2551
(ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยให้พ้นจากตำแหน่ง) [11] |
พรรคพลังประชาชน |
26 | | สมชาย วงศ์สวัสดิ์ | 9 กันยายน พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) | 18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) |
พรรคพลังประชาชน |
58 | 18 กันยายน พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(เพิกถอนสิทธิเลือกตั้ง 5 ปี) [12] |
- | | ชวรัตน์ ชาญวีรกูล | 2 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(นายกรัฐมนตรีพ้นจากตำแหน่ง) | 15 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มีนายกรัฐมนตรีคนใหม่) | (รองนายกรัฐมนตรี ปฏิบัติราชการแทน) |
27 | | อภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ | 59 | 17 ธันวาคม พ.ศ. 2551
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(ยุบสภา) [13] |
พรรคประชาธิปัตย์ |
28 | | ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร | 60 | 5 สิงหาคม พ.ศ. 2554
(มติสภาผู้แทนราษฎร) | ปัจจุบัน |
พรรคเพื่อไทย |
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น